linklist
1
การสร้างลิสต์แบบไม่มีลำดับ
ลิสต์แบบไม่มีลำดับ
(Unordered List)
เป็นลิสต์ที่เหมาะสมสำหรับการนำเสนอข้อมูลที่เป็นหัวข้อประเด็นสั้นๆ
ไม่ต้องการลำดับของตัวเลข หรือตัวอักษรให้ยุ่งยาก ดังนี้
ชื่อแท็ก ul
และ li
ตำแหน่งแท็ก ul (Unordered List) อยู่ภายในแท็ก <body>...</body>
li (List Item) อยู่ภายในแท็ก <ul>...</ul>
รูปแบบแท็ก <ul>
</li>ข้อมูลในลิสต์</li>
</li>ข้อมูลในลิสต์</li>
</ul>
ตำแหน่งแท็ก ul (Unordered List) อยู่ภายในแท็ก <body>...</body>
li (List Item) อยู่ภายในแท็ก <ul>...</ul>
รูปแบบแท็ก <ul>
</li>ข้อมูลในลิสต์</li>
</li>ข้อมูลในลิสต์</li>
</ul>
ตัวอย่างการสร้างลิสต์แบบไม่มีลำดับ
<body>
<ul>
รายการสินค้าที่มีขายในเว็บไซต์ของเรา
<li>นิตยสาร</li>
<li>หนังสือ How to </li>
<li>หนังสือคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยี</li>
<li>หนังสือนวนิยาย</li>
<li>หนังสือแบบเรียนวิชาการ</li>
</ul>
</body>
<ul>
รายการสินค้าที่มีขายในเว็บไซต์ของเรา
<li>นิตยสาร</li>
<li>หนังสือ How to </li>
<li>หนังสือคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยี</li>
<li>หนังสือนวนิยาย</li>
<li>หนังสือแบบเรียนวิชาการ</li>
</ul>
</body>
ผลลัพธ์การสร้างลิสต์แบบไม่มีลำดับ
Ø การกำหนดเครื่องหมายนำหน้าหัวข้อ
ชื่อแอตทริบิวต์ type
ตำแหน่งแอตทริบิวต์ อยู่ในแท็กเปิด <ul...> หรือ <li...>
รูปแบบ <ul type="ชนิดของเครื่องหมาย">
<li type="ชนิดของเครื่องหมาย">
ค่าที่กำหนด ชนิดของเครื่องหมายหน้าลำดับ ได้แก่ disc, circle และ square
ตำแหน่งแอตทริบิวต์ อยู่ในแท็กเปิด <ul...> หรือ <li...>
รูปแบบ <ul type="ชนิดของเครื่องหมาย">
<li type="ชนิดของเครื่องหมาย">
ค่าที่กำหนด ชนิดของเครื่องหมายหน้าลำดับ ได้แก่ disc, circle และ square
รูปแบบและสัญลักษณ์ของเครื่องหมายแต่ละชนิด
ชนิดของเครื่องหมาย
|
รูปแบบ
|
สัญลักษณ์
|
disc
|
วงกลมทึบ
|
|
circle
|
วงกลมโปร่งใส
|
|
square
|
สี่เหลี่ยมทึบ
|
ตัวอย่างการกำหนดเครื่องหมายให้กับลิสต์แบบไม่มีลำดับ
<body>
<ul type="circle" >
รายการสินค้าที่มีขายในเว็บไซต์ของเรา
<li>นิตยสาร</li>
<li type="square" >หนังสือ How to </li>
<li>หนังสือคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยี</li>
<li type="disc" >หนังสือนวนิยาย</li>
<li>หนังสือแบบเรียนวิชาการ</li>
</ul>
</body>
<ul type="circle" >
รายการสินค้าที่มีขายในเว็บไซต์ของเรา
<li>นิตยสาร</li>
<li type="square" >หนังสือ How to </li>
<li>หนังสือคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยี</li>
<li type="disc" >หนังสือนวนิยาย</li>
<li>หนังสือแบบเรียนวิชาการ</li>
</ul>
</body>
ผลลัพธ์การกำหนดเครื่องหมายให้กับลิสต์แบบไม่มีลำดับ
2.การสร้างลิสต์แบบมีลำดับ
ในบางครั้งเราต้องใช้ลิสต์ที่มีการจัดลำดับ
(Ordered List) เพื่อนำเสนอข้อมูล เช่น
ขั้นตอนการทำงาน หรืออันดับหนังสือขายดี
การใช้ลิสต์แบบนี้คล้ายกับการใช้ลิสต์แบบไม่มีลำดับ
แต่จะมีตัวเลขกำกับแต่ละสมาชิกที่อยู่ในลิสต์ให้โดยอัตโนมัติ มีรูปแบบแท็กดังนี้
ชื่อแท็ก
ol แล li
ตำแหน่งแท็ก ol (Onordered List) อยู่ภายในแท็ก <body>...</body>
li (List Item) อยู่ภายในแท็ก <ol>...</ol>
รูปแบบแท็ก <ol>
</li>ข้อมูลในลิสต์</li>
</li>ข้อมูลในลิสต์</li>
</ol>
ตำแหน่งแท็ก ol (Onordered List) อยู่ภายในแท็ก <body>...</body>
li (List Item) อยู่ภายในแท็ก <ol>...</ol>
รูปแบบแท็ก <ol>
</li>ข้อมูลในลิสต์</li>
</li>ข้อมูลในลิสต์</li>
</ol>
ตัวอย่างการสร้างลิสต์แบบมีลำดับ
<body>
<ol>
หนังสือที่ติดอันดับขายดีในปีนี้
<li>หนังสือสร้างเว็บด้วย Dreamweaver CS5 </li>
<li>หนังสือสร้างภาพกราฟิกด้วย Photoshop CS5 </li>
<li>หนังสือสร้างแอนิเมชันด้วย Flash CS5 </li>
<li>หนังสือสร้างแอพลิเคลชันด้วย Visual Basic.net </li>
</ol>
</body>
<ol>
หนังสือที่ติดอันดับขายดีในปีนี้
<li>หนังสือสร้างเว็บด้วย Dreamweaver CS5 </li>
<li>หนังสือสร้างภาพกราฟิกด้วย Photoshop CS5 </li>
<li>หนังสือสร้างแอนิเมชันด้วย Flash CS5 </li>
<li>หนังสือสร้างแอพลิเคลชันด้วย Visual Basic.net </li>
</ol>
</body>
ผลลัพธ์การสร้างลิสต์แบบมีลำดับ
Ø
การกำหนดชนิดของตัวจัดลำดับ
ชื่อแอตทริบิวต์
type
ตำแหน่งแอตทริบิวต์ อยู่ในแท็กเปิด <ol...>
รูปแบบ <ol type="ชนิดของเครื่องหมาย">
ค่าที่กำหนด ชนิดของลำดับนำหน้าหัวข้อ ได้แก่ A, a, I (ไอตัวใหญ่), i และ 1
ตำแหน่งแอตทริบิวต์ อยู่ในแท็กเปิด <ol...>
รูปแบบ <ol type="ชนิดของเครื่องหมาย">
ค่าที่กำหนด ชนิดของลำดับนำหน้าหัวข้อ ได้แก่ A, a, I (ไอตัวใหญ่), i และ 1
ลำดับแต่ละชนิดมีลักษณะดังนี้
ชนิด
|
คำอธิบาย
|
type="A"
|
แสดงเป็นตัวอักษรตัวพิมพ์ใหญ่ คือ A, B, C, ...
|
type='a"
|
แสดงเป็นตัวอักษรพิมพ์เล็ก คือ a, b, c, ...
|
type="I" (ไอใหญ่)
|
แสดงตัวเลขโรมันตัวพิมพ์ใหญ่ คือ I, II, III,
...
|
type="i"
|
แสดงตัวเลขโรมันตัวพิมพ์เล็ก คือ i, ii, iii,
...
|
type="1"
|
แสดงเป็นตัวเลข คือ 1, 2, 3, ... (ค่าปกติ)
|
ตัวอย่างการกำหนดชนิดของตัวจัดลำดับ
<body>
<ol type="i" >
หนังสือที่ติดอันดับขายดีในปีนี้
<li>หนังสือสร้างเว็บด้วย Dreamweaver CS5 </li>
<li>หนังสือสร้างภาพกราฟิกด้วย Photoshop CS5 </li>
<li>หนังสือสร้างแอนิเมชันด้วย Flash CS5 </li>
<li>หนังสือสร้างแอพลิเคลชันด้วย Visual Basic.net </li>
</ol>
</body>
<ol type="i" >
หนังสือที่ติดอันดับขายดีในปีนี้
<li>หนังสือสร้างเว็บด้วย Dreamweaver CS5 </li>
<li>หนังสือสร้างภาพกราฟิกด้วย Photoshop CS5 </li>
<li>หนังสือสร้างแอนิเมชันด้วย Flash CS5 </li>
<li>หนังสือสร้างแอพลิเคลชันด้วย Visual Basic.net </li>
</ol>
</body>
ผลลัพธ์การกำหนดชนิดของตัวจัดลำดับ
Ø กำหนดลำดับเริ่มต้นให้กับข้อมูล
หากเราต้องการกำหนดตัวเลขเริ่มต้น
หรือต้องการข้ามลำดับบางรายการไป เป็นการแสดงลำดับที่ไม่ต่อเนื่อง สามารถทำได้โดยใช้รูปแบบดังต่อไปนี้
ชื่อแอตทริบิวต์ start และ value
ตำแหน่งแอตทริบิวต์ อยู่ในแท็กเปิด <ol...> และ <li...>
รูปแบบ <ol start="ตัวเลข"> และ <li value="ตัวเลข">
ค่าที่กำหนด เป็นการกำหนดเลขเริ่มต้นของลำดับ
ชื่อแอตทริบิวต์ start และ value
ตำแหน่งแอตทริบิวต์ อยู่ในแท็กเปิด <ol...> และ <li...>
รูปแบบ <ol start="ตัวเลข"> และ <li value="ตัวเลข">
ค่าที่กำหนด เป็นการกำหนดเลขเริ่มต้นของลำดับ
ตัวอย่างการกำหนดเลขลำดับเริ่มต้น
<body>
<ol>
หมวดคอมพิวเตอร์
<li>Dreamweaver CS5 </li>
<li>Photoshop CS5 </li>
<li>Flash CS5 </li>
<li>Visual Basic.net </li>
<li>Premiere Pro </li>
</ol>
<ol>
หมวดคอมพิวเตอร์
<li>Dreamweaver CS5 </li>
<li>Photoshop CS5 </li>
<li>Flash CS5 </li>
<li>Visual Basic.net </li>
<li>Premiere Pro </li>
</ol>
<ol start="6" >
หนังสือ How to
<li>การคิดเชิงวิพากษ์</li>
<li>การคิดเชิงสร้างสรรค์</li>
<li>การคิดเชิงกลยุทธ์</li>
<li>การคิดเชิงบูรณาการ</li>
<li value="12" >การคิดเชิงสังเคราะห์</li>
</ol>
</body>
หนังสือ How to
<li>การคิดเชิงวิพากษ์</li>
<li>การคิดเชิงสร้างสรรค์</li>
<li>การคิดเชิงกลยุทธ์</li>
<li>การคิดเชิงบูรณาการ</li>
<li value="12" >การคิดเชิงสังเคราะห์</li>
</ol>
</body>
ผลลัพธ์การกำหนดเลขลำดับเริ่มต้น
3.การสร้างลิสต์แบบเมนู
ลิสต์แบบเมนู
(Menu List)
จะมีลักษณะเหมือนลิงค์แบบไม่มีลำดับ (Unordered List) แต่ลิสต์แบบเมนูนี้ได้ถูกยกเลิกไปแล้ว
ชื่อแท็ก menu และ li
ตำแหน่งของแท็ก menu (Menu List) อยู่ภายในแท็ก <body> .. </body>
li (List Item) อยู่ภายในแท็ก <menu> .. </menu>
รูปแบบ <menu>
<li> ข้อมูลในลิสต์
<li> ข้อมูลในลิสต์
</menu>
ตำแหน่งของแท็ก menu (Menu List) อยู่ภายในแท็ก <body> .. </body>
li (List Item) อยู่ภายในแท็ก <menu> .. </menu>
รูปแบบ <menu>
<li> ข้อมูลในลิสต์
<li> ข้อมูลในลิสต์
</menu>
ตัวอย่างการสร้างลิสต์แบบเมนู
<body>
<menu>
เว็บไซต์สถาบันการศึกษา
<li> www.mut.ac.th : มหาวิทยาลัยมหานคร</li>
<li> www.mst : มหาวิทยาลัยมหาสารคาม</li>
<li> www.psu.ac.th : มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์</li>
<li> www.rsu.ac.th : มหาวิทยาลัยรังสิต</li>
</menu>
</body>
ผลลัพธ์การสร้างลิสต์แบบเมนู
Note : เราสามารถกำหนดเครื่องหมายหน้ารายการได้โดยใช้แอททริบิวท์
Type เหมือนในลิสต์แบบไม่มีลำดับ
4. การสร้างลิสต์แบบไดเร็กทอรี่ลิสต์
ลิสต์แบบไดเร็กทอรี่ (Directory
List) จะมีลักษณะเหมือนลิสต์แบบไม่มีลำดับ (Unordered List) แต่ลิสต์แบบไดเร็กทอรี่นี้ได้ถูกยกเลิกไปแล้ว
ชื่อแท็ก dir
และ li
ตำแหน่งของแท็ก dir (Directory List) อยู่ภายในแท็ก <body> .. </body>
li (List Item) อยู่ภายในแท็ก <menu> .. </menu>
รูปแบบ <dir>
<li> ข้อมูลในลิสต์
<li> ข้อมูลในลิสต์
</dir>
ตำแหน่งของแท็ก dir (Directory List) อยู่ภายในแท็ก <body> .. </body>
li (List Item) อยู่ภายในแท็ก <menu> .. </menu>
รูปแบบ <dir>
<li> ข้อมูลในลิสต์
<li> ข้อมูลในลิสต์
</dir>
ตัวอย่างการสร้างไดเร็กทอรี่ลิสต์
<body>
<dir>
เวลาเปิดทำการของคลินิก
<li>จันทร์ 16.00-21.00 </li>
<li>อังคาร 17.00-21.00 </li>
<li>พุธ 16.00-21.00 </li>
<li>พฤหัสบดี 15.00-21.00 </li>
<li>ศุกร์ 18.00-21.00 </li>
</dir>
</body>
ผลลัพธ์การสร้างไดเร็กทอรี่ลิสต์
Note : เราสามารถกำหนดเครื่องหมายหน้ารายการได้โดยใช้แอททริบิวท์
Type เหมือนในลิสต์แบบไม่มีลำดับ
ลิสต์จำกัดความ (Definition
List) มักถูกนำมาใช้กับการจำกัดความ เช่น
ในพจนานุกรมรูปแบบของลิสต์จัดความแบ่งออกได้เป็น 2 ส่วน
ส่วนแรกคือคำศัพท์ (Term) และส่วนที่สองคือคำจัดความ (Definition)
ซึ่งจะถูกพิมพ์เยื้องเข้าไปหลังคำศัพท์
ชื่อแท็ก dl
dt และ dd
ตำแหน่งของแท็ก dl (Definition List) อยู่ภายในแท็ก <body> .. </body>
dt (Term in a Definition List)
และ dd (Definition in a Definition List)
อยู่ภายในแท็ก <dl> .. </dl>
รูปแบบ <dl>
<dt> คำศัพท์</dt>
<dd> ความหมาย</dd>
<dt> คำศัพท์</dt>
<dd> ความหมาย</dd>
</dl>
ตำแหน่งของแท็ก dl (Definition List) อยู่ภายในแท็ก <body> .. </body>
dt (Term in a Definition List)
และ dd (Definition in a Definition List)
อยู่ภายในแท็ก <dl> .. </dl>
รูปแบบ <dl>
<dt> คำศัพท์</dt>
<dd> ความหมาย</dd>
<dt> คำศัพท์</dt>
<dd> ความหมาย</dd>
</dl>
ตัวอย่างการสร้างลิสต์จำกัดความ
<body>
<dl>
อธิบายศัพท์อินเทอร์เน็ต
<dt> Address </dt>
<dd> ตำแหน่งที่เก็บไฟล์ข้อมูลในอินเทอร์เน็ต </dd>
<dt> Bandwidth </dt>
<dd> การวัดความเร็วการส่งข้อมูลของสายสัญญาณ </dd>
</dl>
</body>
ผลลัพธ์การสร้างลิสต์จำกัดความ
6. การสร้างลิสต์ซ้อนกัน
การสร้างลีสต์ซ้อนกันมีประโยชน์สำหรับนำเสนอข้อมูลที่มีหัวข้อย่อย
หรือมีขั้นตอนมาก เช่น
คู่มืออธิบายขั้นตอนการปรุงอาหารหรือโจทย์คำถามที่มีคำตอบย่อย
ตัวอย่างการสร้างลิสต์ซ้อนกัน
<body>
<ol>
<li>จังหวัดใดคือแหล่งท่องเที่ยวที่อยู่ในภาคใต้ ?</li>
<ol typy="a" >
<li>เชียงใหม่</li>
<li>นครราชสีมา</li>
<li>ภูเก็ต</li>
<li>อุบลราชธานี</li>
</ol>
<li>จังหวัดใดที่ไม่ติดกับทะเล ? </li>
<ol typy="a" >
<li>ระยอง</li>
<li>ยะลา</li>
<li>ตรัง</li>
<li>พังงา</li>
</ol>
</ol>
</body>
ผลลัพธ์การสร้างลิสต์ซ้อนกัน
Note : เราสามารถซ้อนลิสต์กี่ชั้นก็ได้
แต่ไม่แนะนำให้ซ้อนมากกว่า 3 ชั้น เพราะจะทำให้เราสับสน
และข้อมูลที่ปรากฏในลิสต์อาจออกนอกจอภาพของบราวเซอร์ทำให้อ่านยาก